Warning: mysql_result() expects parameter 1 to be resource, boolean given in /home/maekhu/domains/maekhu.go.th/public_html/2021/util/useronline.php on line 58
เทศบาลตำบลแม่คือ อ.ดอยสะเก็ด จ.เชียงใหม่
เทศบาลตำบลแม่คือ อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ (เบอร์โทรศัพท์ 053-387062)
 
ประวัติเทศบาล ข้อมูลทั่วไป
คำขวัญเทศบาลตำบลแม่คือ
วิสัยทัศน์เทศบาลตำบลแม่คือ
อำนาจและหน้าที่
โครงสร้างองค์กร
โครงสร้างสภาเทศบาล
รายชื่อคณะผู้บริหารเทศบาล
รายชื่อสมาชิกสภาเทศบาล
หัวหน้าส่วนราชการ
รายชื่อบุคลากรเทศบาล
ปลัดเทศบาล
สำนักปลัดเทศบาล
งานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
กองคลัง
กองช่าง
กองการศึกษา
โรงเรียนอนุบาลเทศบาลตำบลแม่คือ
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลแม่คือ
แผนยุทธศาสตร์/แผนการดำเนินงานประจำปี
เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี
กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
แผนดำเนินงานประจำปี
รายงานการกำกับติดตามการดำเนินงานประจำปีรอบ 6 เดือน
รายงานผลการดำเนินงานประจำปี
คู่มือการปฎิบัติงาน
คู่มือมาตรฐานการให้บริการ
ข้อมูลเชิงสถิติการให้บริการ
รายงานผลความพึงพอใจในการปฏิบัติงานและบริการ
E-Service (ระบบบริการแบบออนไลน์)
คำร้องขอข้อมูลข่าวสาร
คำร้องขอเก็บขยะอันตราย
แผนการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี
รายงานผลการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี
รายงานการใช้จ่ายงบประมาณประจำปีรอบ 6 เดือน
แผนการจัดซื้อจัดจ้าง
อัตรากำลังของเทศบาล
การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล
นโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคล
การดำเนินการตามนโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคล
หลักเกณฑ์การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล
รายงานผลการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคลประจำปี
แผนอัตรากำลัง 3 ปี
การส่งเสริมความโปร่งใสฯ
เจตจำนงสุจริตของผู้บริหาร
การมีส่วนร่วมของผู้บริหาร
บุคคลสำคัญในตำบลแม่คือ
ข้อมูลสถิติรายได้ของ เทศบาล
กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลแม่คือ
Facebook
รายงานผลการดำเนินงานตามแผน
แผนปฏิบัติการงานสาธารณสุข
ศูนย์ข้อมูลข่าวสาร เทศบาลตำบลแม่คือ
คลินิกกฎหมายบริการประชาชน เทศบาลตำบลแม่คือ
แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริต
รายงานป้องกันทุจริตประจำปี รอบ6เดือน
รายงานการป้องกันการทุจริตประจำปี
ข้อมูลเชิงสถิติเรื่องร้องเรียนการทุจริตฯ
แนวปฏิบัติการจัดการเรื่องร้องเรียน
การเสริมสร้างวัฒนธรรมองค์กร
การเปิดโอกาสให้เกิดการมีส่วนร่วม
ร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ
มาตรการส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใสภายในหน่วยงาน
การดำเนินการตามมาตรการส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใ
การประเมินความเสี่ยงการทุจริตประจำปี
การดำเนินการเพื่อจัดการความเสี่ยงการทุจริต
แบบประเมินความพึงพอใจของเทศบาลตำบลแม่คือ
ITA
รายงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาท้องถิ่น
การปรับปรุงทบทวนภารกิจ
 
 
คุยกับนายกเทศมนตรีตำบลแม่คือ
 
 
ที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้
แผนที่เทศบาลตำบลแม่คือ
 
 
สถิิติการเข้าชมเว็บไซต์
ขณะนี้ 109 คน
สถิติวันนี้
Warning: mysql_result() expects parameter 1 to be resource, boolean given in /home/maekhu/domains/maekhu.go.th/public_html/2021/util/template_up.php on line 577
คน
สถิติเดือนนี้
Warning: mysql_result() expects parameter 1 to be resource, boolean given in /home/maekhu/domains/maekhu.go.th/public_html/2021/util/template_up.php on line 589
คน
สถิติปีนี้
Warning: mysql_result() expects parameter 1 to be resource, boolean given in /home/maekhu/domains/maekhu.go.th/public_html/2021/util/template_up.php on line 600
คน
สถิติทั้งหมด
Warning: mysql_result() expects parameter 1 to be resource, boolean given in /home/maekhu/domains/maekhu.go.th/public_html/2021/util/template_up.php on line 610
คน
ตั้งแต่วันที่ 20 ธันวาคม 2549
คุยกับนายกฯ
 
 
  หัวข้อสนทนา : ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน
ผู้ตั้งหัวข้อ : WWwawa
โทรศัพท์ : 053222222
อีเมล์ : WWwawa@Thaimail.com
วัน-เวลา : 22/12/54 - 14:50:07 น.
ข้อความ : เครือข่ายสารสนเทศที่สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีจัดให้มีขึ้นตามระเบียบนี้ด้วย
หน้า ๒๗
เล่ม ๑๒๒ ตอนพิเศษ ๕๕ ง ราชกิจจานุเบกษา ๒๗ กรกฎาคม ๒๕๔๘
ข้อ ๘ ในการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน หน่วยงานของรัฐต้องมุ่งให้ประชาชนมีความ
เข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับโครงการของรัฐ และรวบรวมความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อโครงการนั้น
รวมตลอดทั้งความเดือดร้อนหรือความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นแก่ประชาชนด้วย
หน่วยงานของรัฐจะรับฟังความคิดเห็นของประชาชนไปพร้อมกับการเผยแพร่ข้อมูล
แก่ประชาชนก็ได้
ข้อ ๙ การรับฟังความคิดเห็นของประชาชนตามข้อ ๘ อาจใช้วิธีการอย่างหนึ่งหรือหลายอย่าง
ดังต่อไปนี้
(๑) การสำรวจความคิดเห็น ซึ่งอาจทำโดยวิธีดังต่อไปนี้
(ก) การสัมภาษณ์รายบุคคล
(ข) การเปิดให้แสดงความคิดเห็นทางไปรษณีย์ ทางโทรศัพท์หรือโทรสาร ทางระบบ
เครือข่ายสารสนเทศ หรือทางอื่นใด
(ค) การเปิดโอกาสให้ประชาชนมารับข้อมูลและแสดงความคิดเห็นต่อหน่วยงานของรัฐ
ที่รับผิดชอบโครงการ
(ง) การสนทนากลุ่มย่อย
(๒) การประชุมปรึกษาหารือ ซึ่งอาจทำได้โดยวิธีดังต่อไปนี้
(ก) การประชาพิจารณ์
(ข) การอภิปรายสาธารณะ
(ค) การแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร
(ง) การประชุมเชิงปฏิบัติการ
(จ) การประชุมระดับตัวแทนของกลุ่มบุคคลที่เกี่ยวข้องหรือมีส่วนได้เสีย
(๓) วิธีอื่นที่สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีกำหนด
ข้อ ๑๐ ในกรณีที่หน่วยงานของรัฐเห็นว่าการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนโดยวิธีอื่น
นอกจากที่กำหนดไว้ในข้อ ๙ จะทำให้การรับฟังความคิดเห็นของประชาชนบรรลุวัตถุประสงค์ตามข้อ ๘
หน่วยงานของรัฐจะรับฟังความคิดเห็นของประชาชนโดยวิธีนั้นก็ได้ แต่เมื่อดำเนินการแล้ว ให้แจ้ง
สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีทราบด้วย
ข้อ ๑๑ ในการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน หน่วยงานของรัฐต้องประกาศให้ประชาชน
ทราบถึงวิธีการรับฟังความคิดเห็น ระยะเวลา สถานที่ ตลอดจนรายละเอียดอื่นที่เพียงพอแก่การที่
ประชาชนจะเข้าใจและสามารถแสดงความคิดเห็นได้
หน้า ๒๘
เล่ม ๑๒๒ ตอนพิเศษ ๕๕ ง ราชกิจจานุเบกษา ๒๗ กรกฎาคม ๒๕๔๘
ประกาศตามวรรคหนึ่ง ให้ปิดไว้โดยเปิดเผย ณ สถานที่ปิดประกาศของหน่วยงานของรัฐ
และสถานที่ที่จะดำเนินโครงการของรัฐนั้นเป็นเวลาไม่น้อยกว่าสิบห้าวันก่อนเริ่มดำเนินการรับฟัง
ความคิดเห็นของประชาชน และให้ประกาศในระบบเครือข่ายสารสนเทศที่สำนักงานปลัดสำนัก
นายกรัฐมนตรีจัดให้มีขึ้นตามระเบียบนี้ด้วย
ข้อ ๑๒ เมื่อดำเนินการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนแล้ว ให้หน่วยงานของรัฐจัดทำ
สรุปผลการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน และประกาศให้ประชาชนทราบภายในสิบห้าวันนับแต่
วันที่เสร็จสิ้นการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน
ให้นำความในข้อ ๑๑ วรรคสอง มาใช้บังคับแก่การประกาศตามข้อนี้โดยอนุโลม
ข้อ ๑๓ เมื่อรับฟังความคิดเห็นของประชาชนแล้วปรากฏว่าการดำเนินโครงการของรัฐ
โครงการใดอาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อประชาชนมากกว่าข้อมูลที่เผยแพร่แก่ประชาชนตามข้อ ๗ (๗)
ถ้ายังมีความจำเป็นต้องดำเนินโครงการดังกล่าวต่อไป หน่วยงานของรัฐต้องกำหนดมาตรการป้องกัน
แก้ไข หรือเยียวยาความเดือดร้อนหรือความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นจากผลกระทบดังกล่าวเพิ่มขึ้น
ตามความเหมาะสมก่อนเริ่มดำเนินการโครงการของรัฐนั้นและประกาศให้ประชาชนทราบ
ให้นำความในข้อ ๑๑ วรรคสอง มาใช้บังคับแก่การประกาศตามข้อนี้โดยอนุโลม
ข้อ ๑๔ ระเบียบนี้ไม่ใช้บังคับแก่
(๑) โครงการของรัฐที่กฎหมายบัญญัติวิธีการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน หรือผู้มีส่วน
ได้เสียไว้เป็นการเฉพาะ
(๒) โครงการของรัฐที่เริ่มดำเนินการไปแล้วก่อนวันที่ระเบียบนี้มีผลใช้บังคับ
ข้อ ๑๕ ให้สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีมีหน้าที่กำกับดูแล ส่งเสริม สนับสนุน
ช่วยเหลือ และแนะนำหน่วยงานของรัฐในการดำเนินการตามระเบียบนี้ รวมทั้งให้มีหน้าที่ดังต่อไปนี้
(๑) จัดทำและเผยแพร่แนวทางการเผยแพร่ข้อมูลและการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน
ให้หน่วยงานของรัฐทราบ โดยจะจัดให้มีการสัมมนาหรือฝึกอบรมเป็นครั้งคราวด้วยก็ได้
(๒) ศึกษาหรือวิจัยเพื่อประโยชน์ในการปรับปรุงและพัฒนาวิธีการให้ข้อมูลและการรับฟัง
ความคิดเห็นของประชาชน
(๓) จัดทำและพัฒนาฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์และระบบเครือข่ายสารสนเทศเพื่อประโยชน์
ในการประกาศ รวบรวม และให้บริการข้อมูลที่เผยแพร่แก่ประชาชนและข้อมูลเกี่ยวกับการรับฟัง
ความคิดเห็นของประชาชนตามระเบียบนี้
หน้า ๒๙
เล่ม ๑๒๒ ตอนพิเศษ ๕๕ ง ราชกิจจานุเบกษา ๒๗ กรกฎาคม ๒๕๔๘
ในการปฏิบัติหน้าที่ตามวรรคหนึ่ง สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีจะเชิญผู้มีความรู้
ความเชี่ยวชาญเกี่ยวกับการให้ข้อมูลและการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนมาให้ข้อมูล ความคิดเห็น
หรือข้อเสนอแนะด้วยก็ได้
ข้อ ๑๖ ให้นายกรัฐมนตรีรักษาการตามระเบียบนี้
ประกาศ ณ วันที่ ๓๐ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๔๘
พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร
นายกรัฐมนตรี
 
 
  ความคิดเห็น/คำตอบที่ 1  
  ผู้แสดงความคิดเห็น/ตอบ : WWwawa
โทรศัพท์ : 053222222
อีเมล์ : WWwawa@Thaimail.com
วัน-เวลา : 22/12/54 - 14:57:02 น.
ข้อความ : จากระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีฯ จึงขอให้เทศบาลเปิดหน้ารับฟังความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อ อบต.แม่คือ ด้วย สำหรับหน้าคุยกับนายกเทศมนตรีฯ ก็เป็นส่วนหนึ่งของการรับฟัง แต่ควรจะเป็นหน้าของ อบต.ที่รับฟังความคิดเห็นของประชาชนโดยตรง อีกหน้าหนึ่งด้วย
หน้า ๒๕
เล่ม ๑๒๒ ตอนพิเศษ ๕๕ ง ราชกิจจานุเบกษา ๒๗ กรกฎาคม ๒๕๔๘
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี
ว่าด้วยการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน
พ.ศ. ๒๕๔๘
โดยที่เป็นการสมควรกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน
เพื่อให้เกิดประโยชน์แก่หน่วยงานของรัฐและประชาชน รวมตลอดทั้งเป็นแนวทางในการให้ประชาชน
มีส่วนร่วมในการดำเนินการโครงการของรัฐอย่างกว้างขวาง
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๑ (๘) แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
พ.ศ. ๒๕๓๔ นายกรัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี จึงวางระเบียบไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการรับฟังความคิดเห็นของ
ประชาชน พ.ศ. ๒๕๔๘”
ข้อ ๒ ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนดหกสิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
เป็นต้นไป
ข้อ ๓ ให้ยกเลิกระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการรับฟังความคิดเห็นสาธารณะโดยวิธี
ประชาพิจารณ์ พ.ศ. ๒๕๓๙
ข้อ ๔ ในระเบียบนี้
“โครงการของรัฐ” หมายความว่า การดำเนินโครงการของหน่วยงานของรัฐอันเป็นการพัฒนา
เศรษฐกิจหรือสังคม ไม่ว่าจะเป็นการดำเนินการโดยหน่วยงานของรัฐหรือโดยวิธีการให้สัมปทานหรือ
อนุญาตให้บุคคลอื่นทำ ทั้งนี้ บรรดาที่มีผลกระทบอย่างกว้างขวางต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อม สุขภาพ
อนามัย วิถีชีวิต หรือส่วนได้เสียเกี่ยวกับชุมชนท้องถิ่น
“หน่วยงานของรัฐ” หมายความว่า ราชการส่วนกลาง ราชการส่วนภูมิภาค ราชการส่วนท้องถิ่น
หน่วยงานอื่นใดของรัฐ และรัฐวิสาหกิจ
“ผู้มีส่วนได้เสีย” หมายความว่า ผู้ซึ่งอาจได้รับความเดือดร้อนหรือความเสียหายโดยตรงจาก
การดำเนินงานตามโครงการของรัฐ
“รัฐมนตรี” หมายความว่า รัฐมนตรีว่าการกระทรวง และให้หมายรวมถึงนายกรัฐมนตรี
ในฐานะที่เป็นผู้บังคับบัญชาของสำนักนายกรัฐมนตรีและส่วนราชการที่มีฐานะเป็นกรมซึ่งไม่สังกัด
สำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวง หรือทบวง
หน้า ๒๖
เล่ม ๑๒๒ ตอนพิเศษ ๕๕ ง ราชกิจจานุเบกษา ๒๗ กรกฎาคม ๒๕๔๘
ข้อ ๕ ก่อนเริ่มดำเนินการโครงการของรัฐ หน่วยงานของรัฐที่เป็นผู้รับผิดชอบโครงการ
ต้องจัดให้มีการเผยแพร่ข้อมูลตามข้อ ๗ ให้ประชาชนทราบ และจะรับฟังความคิดเห็นของประชาชน
โดยวิธีใดวิธีหนึ่งหรือหลายวิธีตามข้อ ๙ ด้วยก็ได้
หน่วยงานของรัฐที่เป็นผู้รับผิดชอบโครงการของรัฐที่มีผลกระทบอย่างรุนแรงต่อประชาชน
เป็นส่วนรวมต้องจัดให้มีการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนโดยวิธีใดวิธีหนึ่งหรือหลายวิธีตามข้อ ๙
ก่อนเริ่มดำเนินการ
ข้อ ๖ ในกรณีที่หน่วยงานของรัฐมิได้จัดให้มีการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนก่อนเริ่ม
ดำเนินการโครงการของรัฐตามข้อ ๕ วรรคหนึ่ง เมื่อผู้มีส่วนได้เสียร้องขอ รัฐมนตรีสำหรับราชการ
ส่วนกลาง ผู้ว่าราชการจังหวัดสำหรับราชการส่วนภูมิภาคหรือราชการส่วนท้องถิ่น หรือผู้ว่าราชการ
กรุงเทพมหานครสำหรับราชการของกรุงเทพมหานคร จะสั่งหน่วยงานของรัฐให้รับฟังความคิดเห็น
ของประชาชนก่อนก็ได้ ในกรณีเช่นนั้นให้หน่วยงานของรัฐดำเนินการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน
โดยเร็ว
ข้อ ๗ ข้อมูลเกี่ยวกับโครงการของรัฐที่หน่วยงานของรัฐต้องเผยแพร่แก่ประชาชนอย่างน้อย
ต้องประกอบด้วยข้อมูลดังต่อไปนี้
(๑) เหตุผลความจำเป็น และวัตถุประสงค์ของโครงการ
(๒) สาระสำคัญของโครงการ
(๓) ผู้ดำเนินการ
(๔) สถานที่ที่จะดำเนินการ
(๕) ขั้นตอนและระยะเวลาดำเนินการ
(๖) ผลผลิตและผลลัพธ์ของโครงการ
(๗) ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นแก่ประชาชนที่อยู่อาศัยหรือประกอบอาชีพอยู่ในสถานที่ที่จะ
ดำเนินโครงการและพื้นที่ใกล้เคียง และประชาชนทั่วไป รวมทั้งมาตรการป้องกัน แก้ไข หรือเยียวยา
ความเดือดร้อนหรือความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นจากผลกระทบดังกล่าว
(๘) ประมาณการค่าใช้จ่าย ในกรณีที่หน่วยงานของรัฐจะเป็นผู้ดำเนินโครงการของรัฐเอง
ให้ระบุที่มาของเงินที่จะนำมาใช้จ่ายในการดำเนินโครงการนั้นด้วย
ให้หน่วยงานของรัฐประกาศข้อมูลที่ต้องเผยแพร่แก่ประชาชนตามวรรคหนึ่งในระบบ
เครือข่ายสารสนเทศที่สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีจัดให้มีขึ้นตามระเบียบนี้ด้วย
หน้า ๒๗
เล่ม ๑๒๒ ตอนพิเศษ ๕๕ ง ราชกิจจานุเบกษา ๒๗ กรกฎาคม ๒๕๔๘
ข้อ ๘ ในการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน หน่วยงานของรัฐต้องมุ่งให้ประชาชนมีความ
เข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับโครงการของรัฐ และรวบรวมความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อโครงการนั้น
รวมตลอดทั้งความเดือดร้อนหรือความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นแก่ประชาชนด้วย
หน่วยงานของรัฐจะรับฟังความคิดเห็นของประชาชนไปพร้อมกับการเผยแพร่ข้อมูล
แก่ประชาชนก็ได้
ข้อ ๙ การรับฟังความคิดเห็นของประชาชนตามข้อ ๘ อาจใช้วิธีการอย่างหนึ่งหรือหลายอย่าง
ดังต่อไปนี้
(๑) การสำรวจความคิดเห็น ซึ่งอาจทำโดยวิธีดังต่อไปนี้
(ก) การสัมภาษณ์รายบุคคล
(ข) การเปิดให้แสดงความคิดเห็นทางไปรษณีย์ ทางโทรศัพท์หรือโทรสาร ทางระบบ
เครือข่ายสารสนเทศ หรือทางอื่นใด
(ค) การเปิดโอกาสให้ประชาชนมารับข้อมูลและแสดงความคิดเห็นต่อหน่วยงานของรัฐ
ที่รับผิดชอบโครงการ
(ง) การสนทนากลุ่มย่อย
(๒) การประชุมปรึกษาหารือ ซึ่งอาจทำได้โดยวิธีดังต่อไปนี้
(ก) การประชาพิจารณ์
(ข) การอภิปรายสาธารณะ
(ค) การแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร
(ง) การประชุมเชิงปฏิบัติการ
(จ) การประชุมระดับตัวแทนของกลุ่มบุคคลที่เกี่ยวข้องหรือมีส่วนได้เสีย
(๓) วิธีอื่นที่สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีกำหนด
ข้อ ๑๐ ในกรณีที่หน่วยงานของรัฐเห็นว่าการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนโดยวิธีอื่น
นอกจากที่กำหนดไว้ในข้อ ๙ จะทำให้การรับฟังความคิดเห็นของประชาชนบรรลุวัตถุประสงค์ตามข้อ ๘
หน่วยงานของรัฐจะรับฟังความคิดเห็นของประชาชนโดยวิธีนั้นก็ได้ แต่เมื่อดำเนินการแล้ว ให้แจ้ง
สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีทราบด้วย
ข้อ ๑๑ ในการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน หน่วยงานของรัฐต้องประกาศให้ประชาชน
ทราบถึงวิธีการรับฟังความคิดเห็น ระยะเวลา สถานที่ ตลอดจนรายละเอียดอื่นที่เพียงพอแก่การที่
ประชาชนจะเข้าใจและสามารถแสดงความคิดเห็นได้
หน้า ๒๘
เล่ม ๑๒๒ ตอนพิเศษ ๕๕ ง ราชกิจจานุเบกษา ๒๗ กรกฎาคม ๒๕๔๘
ประกาศตามวรรคหนึ่ง ให้ปิดไว้โดยเปิดเผย ณ สถานที่ปิดประกาศของหน่วยงานของรัฐ
และสถานที่ที่จะดำเนินโครงการของรัฐนั้นเป็นเวลาไม่น้อยกว่าสิบห้าวันก่อนเริ่มดำเนินการรับฟัง
ความคิดเห็นของประชาชน และให้ประกาศในระบบเครือข่ายสารสนเทศที่สำนักงานปลัดสำนัก
นายกรัฐมนตรีจัดให้มีขึ้นตามระเบียบนี้ด้วย
ข้อ ๑๒ เมื่อดำเนินการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนแล้ว ให้หน่วยงานของรัฐจัดทำ
สรุปผลการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน และประกาศให้ประชาชนทราบภายในสิบห้าวันนับแต่
วันที่เสร็จสิ้นการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน
ให้นำความในข้อ ๑๑ วรรคสอง มาใช้บังคับแก่การประกาศตามข้อนี้โดยอนุโลม
ข้อ ๑๓ เมื่อรับฟังความคิดเห็นของประชาชนแล้วปรากฏว่าการดำเนินโครงการของรัฐ
โครงการใดอาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อประชาชนมากกว่าข้อมูลที่เผยแพร่แก่ประชาชนตามข้อ ๗ (๗)
ถ้ายังมีความจำเป็นต้องดำเนินโครงการดังกล่าวต่อไป หน่วยงานของรัฐต้องกำหนดมาตรการป้องกัน
แก้ไข หรือเยียวยาความเดือดร้อนหรือความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นจากผลกระทบดังกล่าวเพิ่มขึ้น
ตามความเหมาะสมก่อนเริ่มดำเนินการโครงการของรัฐนั้นและประกาศให้ประชาชนทราบ
ให้นำความในข้อ ๑๑ วรรคสอง มาใช้บังคับแก่การประกาศตามข้อนี้โดยอนุโลม
ข้อ ๑๔ ระเบียบนี้ไม่ใช้บังคับแก่
(๑) โครงการของรัฐที่กฎหมายบัญญัติวิธีการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน หรือผู้มีส่วน
ได้เสียไว้เป็นการเฉพาะ
(๒) โครงการของรัฐที่เริ่มดำเนินการไปแล้วก่อนวันที่ระเบียบนี้มีผลใช้บังคับ
ข้อ ๑๕ ให้สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีมีหน้าที่กำกับดูแล ส่งเสริม สนับสนุน
ช่วยเหลือ และแนะนำหน่วยงานของรัฐในการดำเนินการตามระเบียบนี้ รวมทั้งให้มีหน้าที่ดังต่อไปนี้
(๑) จัดทำและเผยแพร่แนวทางการเผยแพร่ข้อมูลและการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน
ให้หน่วยงานของรัฐทราบ โดยจะจัดให้มีการสัมมนาหรือฝึกอบรมเป็นครั้งคราวด้วยก็ได้
(๒) ศึกษาหรือวิจัยเพื่อประโยชน์ในการปรับปรุงและพัฒนาวิธีการให้ข้อมูลและการรับฟัง
ความคิดเห็นของประชาชน
(๓) จัดทำและพัฒนาฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์และระบบเครือข่ายสารสนเทศเพื่อประโยชน์
ในการประกาศ รวบรวม และให้บริการข้อมูลที่เผยแพร่แก่ประชาชนและข้อมูลเกี่ยวกับการรับฟัง
ความคิดเห็นของประชาชนตามระเบียบนี้
หน้า ๒๙
เล่ม ๑๒๒ ตอนพิเศษ ๕๕ ง ราชกิจจานุเบกษา ๒๗ กรกฎาคม ๒๕๔๘
ในการปฏิบัติหน้าที่ตามวรรคหนึ่ง สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีจะเชิญผู้มีความรู้
ความเชี่ยวชาญเกี่ยวกับการให้ข้อมูลและการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนมาให้ข้อมูล ความคิดเห็น
หรือข้อเสนอแนะด้วยก็ได้
ข้อ ๑๖ ให้นายกรัฐมนตรีรักษาการตามระเบียบนี้
ประกาศ ณ วันที่ ๓๐ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๔๘
พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร
นายกรัฐมนตรี
  ความคิดเห็น/คำตอบที่ 2  
  ผู้แสดงความคิดเห็น/ตอบ : WWwawa
โทรศัพท์ : 053222222
อีเมล์ : WWwawa@Thaimail.com
วัน-เวลา : 22/12/54 - 15:01:13 น.
ข้อความ : ในทุกข้อของระเบียบ โดยเฉพาะ ข้อ 7. ข้อ 9(1),(2)และ ข้อ 12. ที่มีความสำคัญต่อประชาชน อบต.ควรต้องดำเนินการตามระเบียบมิฉะนั้น จะถือว่าเป็นการทำผิดระเบียบของทางราชการนะครับ
แสดงความคิดเห็น / ตอบ
 
ชื่อ *
โทรศัพท์ :  
อีเมล์ :  
ข้อความ * :  
รหัสตรวจสอบ * :    กรุณากรอกรหัสในภาพให้ครบถ้วน
 
     
  กรุณาเติมรายละเอียดในช่องที่มีสัญลักษณ์ " * "
   
 
กลับไปดูรายการทั้งหมด
 
 

 

 


 
 
ข่าวสารและกิจกรรม
Copyright 2006-2024 โดย เทศบาลตําบลแม่คือ - http://www.maekhu.go.th
ที่ทำการเทศบาลตำบลแม่คือ 149 ม.2 ต.แม่คือ อ.ดอยสะเก็ด จ.เชียงใหม่ 50220
เว็บไซต์ออกแบบและพัฒนาโดย www.click2solutions.com